sondmk header
วงจรไบอัสทรานซีสเตอร์

หน่วยที่ 2 วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์

สาระการเรียนรู้

2.1 วงจรไบอสั คอมมอนอิมิตเตอร์ 2.1.1 แบบไบอัสคงที่ 2.1.2 แบบไบอัสตนเอง 2.2 วงจรไบอสั คอมมอนคอลเลกเตอร์ 2.3 วงจรไบอสั คอมมอนเบส

จุดประสงค์ทั่วไป

1. คํานวณหาคำกระแสและแรงดันของวงจรไบอัสคอมมอนอิมิตเตอร์ 2. คํานวณหาคำกระแสและแรงดันของวงจรไบอัสคอมมอนคอลเลกเตอร์ 3. คํานวณหาคำกระแสและแรงดันของวงจรไบอัสคอมมอนเบส 4. วัดและทดสอบหากระแสและแรงดันทจี่ดทํางานของวงจรไบอัสทรานซิสเตอร์

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. คํานวณหาคำกระแสและแรงดันวงจรไบอสัสคงที่ ของคอมมอนอิมิตเตอร์ได้ 2. คํานวณหาคำกระแสและแรงดันวงจรอิมิตเตอร์ ไบอัสของคอมมอนอิมิตเตอร์ได้ 3. คํานวณหาคำกระแสและแรงดันวงจรแบบโวลท์เตจดิไวเดอร์ของคอมมอนอิมิตเตอร์ได้ 4. คํานวณหาคำกระแสและแรงดันของวงจรคอมมอนคอลเลกเตอร์ได้ 5. คํานวณหาคำกระแสและแรงดันของวงจรคอมมอนเบสได้ 6. มีทักษะการวัดหากระแสและแรงดนในวงจรทรานซิสเตอร์ได้ 7. มีกิจนิสัยในการทํางานด้วยความประณีตรอบคอบและตรงต่อเวลา 8. มีความซื่อสัตย์ มีความใผ่รู้ และมีความอดทน 9. มีความขยัน รับผิดชอบงานที่มอบหมาย และทํางานร่วมกับผู้อื่นได้

การจัดไบอัสวงจรทรานซิสเตอร์ (Transistor Biasing Circuit)

ในการใช้งานวงจรทรานซิสเตอร์แต่ละวงจร ต้องการกระแสไม่เท่ากัน หรือจุดทํางาน แตกต่างกันไป ถ้าให้กระแสไหลในวงจรมากเกินไป จะทําให้ทรานซิสเตอร์เข้าสู่ภาวะอิ่มตัวได้ และ ถ้าเราลดกระแสมากเกินไปก็อาจทําให้ทรานซิสเตอร์ตัวนั้นๆ ถึงจุดคัทออฟได้ ตามกฎของโอห์ม การปรับกระแสสามารถปรับได้จากแหล่งจ่ายไฟเลี้ยงวงจรและอีกวิธีคือการปรับด้วยค่าความ ต้านทาน ดังนั้นในทางปฎิบัติจึงต้องเลือกวิธีการปรับกระแสด้วยค่าความต้านทาน โดยการต่อตัวต้านทานอนุกรมกับแหล่งจ่ายไฟ ดังภาพที่ 2.1 จากภาพที่ 2.1 (ก) เป็นการต่อวงจรของทรานซิสเตอร์ชนิด NPN จะเห็นว่าที่ขาเบสกับขา คอลเลกเตอร์ มีทิศทางกระแสไหลเข้า เพราะฉะนั้นจะถูกต่อด้วยขั้วแรงดันไฟฟ้าบวก ส่วนภาพที่- 2.1 (ข) เป็นการต่อตัวต้านทานอนุกรมกับแหล่งจ่ายไฟ เพื่อเป็นตัวปรับกระแสและแรงดันที่ ทรานซิสเตอร์ ส่วนภาพที่ 2.1 (ค) เป็นการต่อวงจรของทรานซิสเตอร์ชนิด PNP จะเห็นว่าที่ขาเบสกับขาคอลเลกเตอร์ มีทิศทางกระแสไหลออกเพราะฉะนั้นจะถูกต่อด้วยขั้วแรงดันไฟฟ้าลบ ส่วนภาพที่- 2.1 (ง) เป็นการต่อตัวต้านทานอนุกรมกับแหล่งจ่ายไฟ เพื่อเป็นตัวปรับกระแสและแรงดันที่ ทรานซิสเตอร์ ในทางปฏิบัติการต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง 2 ชุดเพื่อให้ทรานซิสเตอร์ทํางานนั้นจะ ไม่สะดวก และจากการสังเกตุจากวงจรขั้วแรงดันที่ต่อจุดคอมมอนมีขั้วไฟฟ้าเหมือนกันจึงสามารถ ใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง เพียงชุดเดียวได้ตามภาพที่ 2.2 1. คอมมอนอิมิตเตอร์ (Common Emitter) จัดวงจรได้ 2 แบบ 1.1 วงจรไบอสั คงที่ ( Fixed bias) 1.1 วงจรไบอสั ด้วยตนเอง (Self bias) 2. คอมมอนคอลเลกเตอร์ (Common collector) 3. คอมมอนเบส (Common Base)

2.1 วงจรไบอัสคอมมอนอิมิตเตอร์ (Common Emitter bias circuit)

2.1.1 วงจรไบอัสคงที่ ( Fixed bias) เป็นวิธีการไบอัสที่ง่ายที่สุด ใช้แหล่งจ่ายไฟกระแสตรง (VCC ) เป็นตัวจ่ายกระแสเข้าที่ขาเบส (IB) และที่ขาคอลเลกเตอร์ (IC) ตัวอย่างเช่นทรานซิสเตอร์ชนิด NPN ขาเบสต้องการไฟบวก เมื่อเทียบกับขาอิมิตเตอร์ และขาคอลเลกเตอร์ก็ต้องการบวกเมื่อเทียบกับขาอิมิตเตอร์เช่นกันในส่วนของกระแสที่จะทําให้ทรานซิสเตอร์ทํางาน ตามที่ต้องการจะต้องใช้ตัวต้านทานเป็นตัวกําหนด กระแสที่ขาเบส และขาคอลเลกเตอร์ ดังภาพที่ 2.3 ภาพที่ 2.3 วงจรไบอัสแบบไบอัสคงที่ ในการวิเคราะห์หาจุดทํางานของวงจรจะต้องใช้หลักการทางวงจรไฟฟ้าโดยทําการเปลี่ยน จากวงจรอิเลคทรอนิกส์ให้เป็น วงจรทางไฟฟ้า โดยแยกวงจรออกเป็นวงจรทางอินพุตและวงจรทางเอาท์พุต การวิเคราะห์หาจุดทํางานของวงจรแบบไบอัสคงที่ ภาพที่ 2.4 การวิเคราะห์หาจดุ ทํางานวงจรแบบไบอัสคงที่ เพื่อให้ง่ายต่อการการวิเคราะห์การทํางานของวงจร จะต็องเปลี่ยนให็เป็นวงจรไฟฟ้าก่อน โดยการกําหนดทิศทางการไหลของกระแสจากแหล่งจ่ายไฟเลี้ยงวงจรผ่านทาง ความต้านทานทางขา เบส (RB) และทางความต้านทานทางขาคอลเลกเตอร์ (RC) หลังจากนั้นก็นํามาเขียนให้เป็น วงจรไฟฟ้า ในส่วนของแรงดันที่ตกคล่อมตัวทรานซิสเตอร์ให้เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์แหล่งจ่าย แรงดันสมมติ แล้วใช้ทฤษฎีวงจรไฟฟ้าวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดนั ภาพที่ 2.5 การกําหนดทิศทางกระแสที่ไหลในวงจร พิจารณาทางอินพุต ภาพที่ 2.6 การเขียนวงจรไฟฟ้าทางอินพตุ เขียนสมการโดยอาศัยกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ เพื่อหาสมการกระแสเบส ( IB ) VCC = IB*RB + VBE IB = (Vcc-Vbe)/Rb ภาพที่ 2.7 การเขียนวงจรไฟฟ้าทางเอาท์พุต เขียนสมการโดยอาศัยกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ เพื่อหาสมการกระแสเบส ( IC ) และ สมการแรงดันที่ คอลเลกเตอร์ กับอิมิตเตอร์ VCC = IC*RC + VCE VCE = VCC - IC*RC IC = B IB หรือ IC = hFE*IB ตัวอย่างที่ 2.1 จากวงจรคํานวณหาคำกระแส IC กระแส IB และแรงดัน VCE = 4V - 0.7V 4.7 KΩ IB = 702.127 A ตอบ IC = VCC VCE RC = 24V  8V 3kΩ IC = 5.33 mA ตอบ VCE = VCC - ICRC = 24 V – 5.33 mA 3k VCE = 8.01 V ตอบ ตัวอยางที่ 2.2 จงคํานวณหาคา RC และ RB ของวงจรไบอสั คงที่ โดยใชซิลิกอนทรานซิสเตอร์มีคำ hFE = 50 VCC = 15 V และจดุ ทํางานดีซีที่ VCE = 8V, IC = 2mA วิธีทํา จาก VCC = ICRC + VCE RC = VCCI VCE C = 15 V8V 2mA RC = 3.5 k ตอบ IB = IC hFE = 2mA 50 IB = 40 A VCC = IBRB + VBE RB = VCCIBVBE = 15 V 0.7V 40μA RB = 357.5 k ตอบ RB Vi กําหนดใหแ รงดัน VCE มีคำเทากับ 8V วิธีทํา IB = VBB VBE RB = 4V  0.7V 4.7 KΩ IB = 702.127 A ตอบ IC = VCC VCE RC = 24V  8V 470Ω IC = 34.04 mA ตอบ  = IC IB = 34.04 mA 702.127 μA  = 48.48 ตอบ 2.1.2 วงจรไบอัสด้วยตนเอง (Self bias) 2.1.2.1 แบบวงจรอิมิตเตอร์ ไบอัส (Emitter bias) ภาพที่ 2.8 วงจรไบอัสแบบอิมิตเตอร์ ไบอัส โดยทั่วไปเมื่อทรานซิสเตอร์ทํางานก็จะเกิดความรอนขึ้นเปนผลใหความตานทาน ระหวาง คอลเลกเตอร์ กับ อิมิตเตอร์ มีคำลดลง จะทําใหใหกระแสคอลเลกเตอร์มคีาสูงขึ้นในขณะที่ กระแสเบสยังมีคำคงที่อยู นั้นก็หมายความวากระแสเบสไมสามารถควบคุมกระแสคอลเลกเตอร์ได้ จะทําใหจุดทํางานของทรานซิสเตอร์ มีการเปลี่ยนแปลง เมื่อมีความตานทานที่ขาอิมิตเตอร์ (RE ) กระแสคอลเลกเตอร์มีคำเพิ่มขึ้น จะทําใหแรงดัน ที่ตกคลอมตัวตานทานที่ขาอิมิตเตอร์ (VE ) และแรงดันที่ขาเบส (VB) มีคำเพิ่มขึ้นตามไปด้วยจะ สงผลใหแรงดันที่ตกคลอมระหวา งเบส กับ อิมิตเตอร์ มีคำลดลง ตามสมการขางลาง VB = VBE + VE VBE = VB - VE เมื่อแรงดันตกคลอมระหวางเบสกับอิมิตเตอร์ มีคำลดลง ทรานซิสเตอร์ก็จะนํากระแส ได้นอยลงทําใหกระแสคอลเลกเตอร์ลดลงตามด้วย ทรานซิสเตอร์ ก็จะกลับมาทํางานที่กระแสและ แรงดันเหมือนในตอนแรก อุณหภูมิก็จะลดลง การวิเคราะหหาจุดทํางานของวงจรอิมิตเตอร์ ไบอัส ภาพที่ 2.9 การวิเคราะหหาจดุ ทํางานของวงจรอิมิตเตอร์ ไบอัส หลักการวิเคราะหจะตองเปลี่ยนใหเปนวงจรไฟฟากอนโดยการกําหนดทิศทางการไหล ของกระแสจากแหลงจายไฟเลี้ยงวงจรผานทางความตานทานทางขาเบส (RB) และทางความ ตานทานทางขาคอลเลกเตอร์ (RC) หลังจากนั้นก็นํามาเขียนใหเปนวงจรไฟฟาโดยสมมติใหแรงดัน ที่ตกคลอมทรานซิสเตอร์เขียนแทนด้วยสัญลักษณแหลงจายแรงดันสมมติ แลวใช้ทฤษฎีวงจรไฟฟา วิเคราะหหาความสมั พันธระหวางกระแสและแรงดัน ของวงจร ภาพที่ 2.10 การกําหนดทิศทางกระแสที่ไหลในวงจร พิจารณาทางอนิ พุต เขียนสมการโดยอาศัยกฎแรงดันของเคอรชอฟฟ เพื่อหาสมการกระแสเบส ( IB ) VCC = IBRB + VBE + IERE IE = IC + IB = IB + IB IE = IB (1+) VCC = IBRB + VBE + IB (1+)RE IB = RB VCC(1VβBE)RE พิจารณาทางเอาทพุต เขียนสมการโดยอาศัยกฎแรงดันของเคอรชอฟฟ เพื่อหาสมการกระแส ( IC ) และสมการ แรงดันที่คอลเลกเตอร์ กับอิมิตเตอร์ ภาพที่ 2.12 การเขียนวงจรไฟฟาทางเอาทพุต จาก IE  IC VCC = ICRC + VCE + IERE VCE = VCC - IC (RC + RE) VC = VCC – ICRC VE = IC RE IC = IB ตัวอยางที่ 2.4 จากวงจรคํานวณหาคำกระแส IC กระแส IB และแรงดัน VCE วิธีทํา IB = VCC  VBE RB  (1β)RE = 20V  0.7V 430kΩ  (1100)1kΩ IB = 36.35 A ตอบ IC = IB = 100  36.35 A IC = 3.635 mA ตอบ VCE = VCC - IC (RC + RE) = 20V - 3.635 mA  (2k + 1k ) VCE = 9.1V ตอบ 2.1.2.2 แบบแบงแรงดนั (Voltage divider bias) ในการที่จะทําใหวงจรมีเสถียรภาพดีขึ้นสามารถทําได้โดยการทําใหแรงดัน ที่มาไบอัสขาเบสมีคำคงที่มากที่สุดวงจรไบอัสแบบนี้จึงมีความตานทานตรงขาเบส 2 ตัวด้วยกัน แมวาวงจรทรานซิสเตอร์จะทํางานหรือไมทํางาน แต่แรงดันที่ขาเบสยังมีคำคงที่ นี่เปนผลทําให วงจรมีเสถียรภาพของวงจรสูงกวาวงจรไบอัสแบบอื่นที่กลาวมาตั้งแต่ตน หลักการรักษาเสถียรภาพของวงจรขยายทรานซิสเตอร์ใหคงที่นั้นจะทําใหกระแสคอล- เลกเตอร์ถูกควบคุมไมใหเปล่ียนแปลงหรือถาเปลี่ยนแปลงก็ใหนอยที่สุด เมื่อจุดทํางานเริ่มจะ เปลี่ยนไป พารามิเตอร์ที่จะสงผลใหการทํางานของทรานซิสเตอร์เปลี่ยนไปอันดับแรกก็คืออุณหภูมิ ซึ่งสามารถแกไขในขั้นตนคือใสความตานทานที่ขาอิมิตเตอร์ (RE) แต่อยางไรก็ตามกรณีที่ ทรานซิสเตอร์เกิดความรอนขึ้นอยางตอเนื่องจนความตานทาน RE ไมสามารถควบคุมได้ วงจรแบงแรงดัน จะสามารถควบคุมแรงดันทางเบสใหคงที่ได้ เพราะตัวตานทานที่ตอเปนวงจรแบงแรงดันไว ทางขาเบสนั่นเอง ซึ่งคำแรงดันที่วามานี้จะไมขึ้นตรงกับพารามิเตอร์ตัวใดๆ ภาพที่ 2.13 วงจรไบอัสแบบแบงแรงดนั พิจารณาทางอนิ พุต VB = RB2 VCC RB1  RB2 IE = VE R E VB = VBE - VE VE = VB - VBE IE  IC ภาพที่ 2.14 การหาแรงดันที่ขาเบส พิจารณาทางเอาทพุต ภาพที่ 2.15 การเขียนวงจรไฟฟาทางเอาทพุต เขียนสมการโดยอาศัยกฎแรงดันของเคอรชอฟฟ VCC = ICRC + VCE + IERE VCE = VCC - IC(RC + RE) VC = VCC – ICRC VE = IC  RE อยางไรก็ตามในบางครั้งเราจะชดเชยอุณหภูมิโดยตรงได้ด้วยการใช้อุปกรณอยางเทอรมิสเตอร์ ไปยึดติดไวกับตัวถังของทรานซิสเตอร์เมื่อทรานซิสเตอร์เกิดความรอนเทอรมิสเตอร์ จะ รอนตามไปด้วย เปนผลใหความตานทานของมันลดลงแรงดันไบอัสที่ขาเบส ก็จะลดลงตาม กระแสคอลเลกเตอร์ ก็ลดลงลดลงทรานซิสเตอร์จึงเย็นลงเขาสูสภาวะปกติตอไปเทอรมิสเตอร์จะใช้ ชนิด NTC ตัวอยางที่ 2.5 การคํานวณหาคำกระแสและแรงดันทจี่ดทํางานของวงจรุ VB = RRB2VRCC B1 B2 = 3.9kΩ  22V 3.9 kΩ  39 kΩ VB = 2 V ตอบ VE = VB - VBE = 2 V - 0.7V VE = 1.3 V IE = 1.5kΩ = 0.867mA ตอบ VCE = VCC - IC (RC + RE) = 22V - 0.867mA (10k + 1.5k) VCE = 12.03 V ตอบ 1.3V 2.2 วงจรไบอัสคอมมอนคอลเลกเตอร์ (Common Collector bias circuit ) จากการจัดไบอัสของวงจรคอมมอนคอลเลกเตอร์ ขาอินพุตปอนเขาที่ขาเบสสวนเอาทพุต ออกที่ขาอิมิตเตอร์ เมื่อพิจารณาจากการทํางานของวงจรแรงดันที่ขาเบสจะตางจากแรงดันท่ีขาอิมิตเตอร์ เล็กนอยประมาณ 0.7 V และเมื่อพิจารณาผลการทํางานทางดานสัญญาณของวงจร สัญญาณที่เอาทพุตและอินพุตจะมีขนาดใกลเคียงกันและเฟสสัญญาณตรงกัน จึงเรียกวาวงจร อิมิตเตอร์ฟรอลโลเวอร ดังภาพที่ 2.16 ภาพที่ 2.16 วงจรไบอัสแบบคอมมอนคอลเลกเตอร์ การวิเคราะหหาจุดทํางานของวงจรคอมมอนคอลเลกเตอร์ ภาพที่ 2.17 การกําหนดทิศทางกระแสที่ไหลในวงจร หลักการวิเคราะหจะตองเปลี่ยนใหเปนวงจรไฟฟากอนโดยการกําหนดทิศทางการไหลของ กระแสจากแหลงจายไฟเลี้ยงวงจรผานทางความตานทานทางขาเบส (RB) และทางขาคอลเลกเตอร์ ลงสูกลาวด จากนั้นก็นํามาเขียนใหเปนวงจรไฟฟาโดยสมมติใหแรงดันท่ีตกคลอมทรานซิสเตอร์ เขียนแทนด้วยสัญลักษณแหลงจายแรงดันสมมติ แลวใช้ทฤษฎีวงจรไฟฟาวิเคราะหหา ความสัมพันธระหวางกระแสและแรงดัน ของวงจร พิจารณาทางอินพุต เขียนสมการโดยอาศัยกฎแรงดันของเคอรชอฟฟ เพื่อหาสมการกระแสเบส ( IB ) VCC = IBRB + VBE + IERE IE = IB (1+) VCC = IBRB + VBE + IB (1+) RE VCC = IB [ RB + (1+) RE ] + VBE IB = VCC  VBE R  (1β)R B E พิจารณาทางเอาทพุต ภาพที่ 2.19 การเขียนวงจรไฟฟาทางเอาทพุต เขียนสมการโดยอาศัยกฎแรงดันของเคอรชอฟฟ เพื่อหาสมการกระแส ( IC ) และสมการแรงดันที่ คอลเลกเตอร์ กับอิมิตเตอร์ VCC = VCE + IERE VCE = VCC - IC RE IC = VCCR VCE E IC = IB ตัวอยางที่ 2.6 จงคํานวณหาคำกระแส IB , IC และแรงดันที่ VCE V วิธีทํา = 20V  0.7V 240kΩ  912kΩ IB = 45.73 A ตอบ IC = IB = 90  45.73 A IC = 4.12 mA ตอบ VCE = VCC - ICRE = 20V - 4.12 mA  2 k VCE = 11.76 V ตอบ 2.3 วงจรไบอัสคอมมอนเบส (Common Base bias circuit) การจัดวงจรไบอัสคอมมอนเบสนี้ขาอินพตุ จะเปนขาอิมิตเตอร์ สวนเอาทพุตจะเปนขาคอล- เลกเตอร์ ซึ่งจะเปนผลใหคำอินพุตอิมพีแดนซของวงจรมคีาต่ําไมเหมาะที่จะนําไปใช้เปนวงจรขยาย และอีกประการหนึ่งคือจะตอ งใช้ไฟเลี้ยงวงจรทั้งทางอินพุตและเอาทพตุ ดังภาพที่ 2.20 ภาพที่ 2.20 การวิเคราะหห าจุดทํางานของวงจรคอมมอนเบส หลักการวเิ คราะหการทํางานของวงจรก็จะคลายกบั คอมมอนอิมิตเตอร์และคอมมอน คอลเลกเตอร์ ก็คือแยกเปนวงจรทางอินพุตและเอาทพุตออกจากกันแลว มาเขียนใหเปน วงจรทาง ไฟฟาเพื่อวิเคราะหการทํางานของวงจรตอไป ภาพที่ 2.21 การวิเคราะหห าจุดทํางานทางอินพุต เขียนสมการโดยอาศัยกฎแรงดันของเคอรชอฟฟ เพื่อหาสมการกระแส ( IE ) -VEE = -IERE - VEB VEE = VEB + IERE IE = VEER VBE E พิจารณาทางเอาทพุต ภาพที่ 2.22 การวิเคราะหห าจุดทํางานทางเอาทพุต VCC = ICRC + VCB VCB = VCC - ICRC IC  IE การจัดไบอัสของวงจรคอมมอนเบสจะแตกตางจากแบบอื่นตรงที่จะตองใช้แหลงจายไฟ กระแสตรง 2 ชุด จัดไบอัสทั้งทางอินพุตและเอาทพุต และอีกสวนที่แตกตางก็คือจุดตออินพุตตอ ที่ขาอิมิตเตอร์ ซึ่งมีคำความตานทานต่ําจึงเปนสาเหตุที่คอมมอนนี้ไมถูกนําไปใช้เปนวงจรขยาย เสียง(Amplifier) ตัวอยางที่ 2.7 จงคํานวณหาคำกระแส IE และแรงดนั ท Vี่ CB วิธีทํา IE = VEE  VBE RE = 4V 0.7V 1.2KΩ IE = 2.75 mA ตอบ VCB = VCC - ICRC = 10 V - 2.75mA  2.4 k VCB = 3.4 V ตอบ แบบฝกหัดประจําหนวยที่ 2 วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์ วิชา วงจรอิเลคทรอนิกส รหัส 2104 - 2206 คําสั่ง ใหแสดงวิธีการวิเคราะหหาจุดทํางานของวงจรตอ ไปน ี้ 1. ใหคํานวณหาคำกระแส IB , IC และแรงดัน VCE ของวงจร ภาพที่ 2.23 วงจรไบอัสคงที่ 2. ใหคํานวณหาคำกระแส IB , IC และแรงดัน VCE ของวงจร ภาพที่ 2.24 วงจรไบอัสคงที่ 3. ใหคํานวณหาคำกระแส IB , IC และแรงดัน VCE ของวงจร ภาพที่ 2.25 วงจรอิมิตเตอร์ไบอัส 4. ใหคํานวณหาคำกระแส IC และแรงดัน VCE ของวงจร ภาพที่ 2.26 วงจรไบอัสแบบแบงแรงดนั 5. ใหคํานวณหาคำกระแส IB , IC , IE และแรงดัน VCE ของวงจร ภาพที่ 2.27 วงจรคอมมอนคอลเลกเตอร์ 6. ใหคํานวณหาคำกระแส IE , IC และแรงดัน VCB ของวงจร ภาพที่ 2.28 วงจรคอมมอนเบส ใบงานที่ 2.1 หนวยที่ 2 เรื่อง วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์คอมมอนอิมิตเตอร์ เวลา 60 นาที วัตถุประสงค 1. เพื่อใหเขาใจการทํางานของวงจรไบอัสแบบคงที่ ได้ 2. เพื่อใหเขาใจการทํางานของวงจรไบอัสแบบด้วยตวั เองได  3. เพื่อใหเขาใจผลที่กระทบตอการทํางานของวงจร อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนตัว ทรานซิสเตอร์ 4. มีกิจนิสัยในการทํางานดว ยความประณตรอบคอบและตรงตอเวลาี 5. มีความซื่อสัตย มีความใผรู และมีความอดทน 6. มีความขยัน รบั ผิดชอบงานที่มอบหมาย และทํางานรวมกับผูอื่นได้ สาระสําคัญ การจัดไบอัสของวงจรก็คือการกําหนดกระแสและแรงดนั ที่เกิดขนึ้ ที่ตวั ทรานซิสเตอร์ พารามิเตอร์ที่มีผลกระทบตอการทํางานกค็ือ อัตราขยายทางดานกระแสตรง ( หรือ HFE )ดังนั้น วงจรไบอัสทดี่มีเสถียรภาพจะตองไมขึ้นอยูกับคำี ( หรือ HFE ) เครื่องมือและอุปกรณที่ใชใ นการทดลอง 1. ออสซิลโลสโคป 2 เสนภาพ 1 เครื่อง 2. ชุดทดลอง BASE UNIT 1 เครื่อง 3. แผงโมดุลการทดลอง 1 แผน 4. สายตอวงจรไฟฟา 1 ชุด 5. มัลติมิเตอร์ 1 เครื่อง ลําดับขั้นการทดลอง 1. วงจรไบอัสคงที่ (Fixed bias) ภาพที่ 1 การวดั คำแรงดัน VCEQ 1.2 ใช้โวลทมิเตอร์วัดที่ ขา C กับขา E แลวปรับแหลงจายแรงดัน VBB จนได้แรงดัน VCEQ = 7.5v แลวบันทกึ ผลลงตารางท่ี.1 1.3 ตอแอมปมิเตอร์ตามภาพที่ 2 เพื่อวัดกระแสที่ขาเบส (IBQ) และวดั กระแสที่ขาคอลเลกเตอร์ ICQ ตามลําดับแลวบันทึกผลลงตารางที่.1 ภาพที่ 2 การวดั คำกระแสเบส และกระแส คอลเลกเตอร์ 1.4 คํานวณหาอัตราขยายกระแสทางดีซี ( ) ที่ ICQ นี้บันทึกผลลงตารางที่.1 1.5 ทดลองหาเสถียรภาพอันเนื่องมาจาก การเปลี่ยนตัวทรานซิสเตอร์ 1.5.1 ทําการเปลี่ยนตัวทรานซิสเตอร์ แลวใช้โวลทมิเตอร์วัดแรงดนั VCEQ ตาม ภาพที่ 1 บันทึกผลลงตารางที่.1 1.5.2 ใช้แอมปมิเตอร์วัดกระแสท่ีขาเบส (IBQ) และวัดกระแสที่ขาคอลเลกเตอร์ ICQ ตามภาพที่ 2 ตามลําดับแลวบันทึกผลลงตารางที่.1 1.5.3 ทําการคํานวณหาอัตราขยายกระแสทางดีซี ( ) ที่ ICQ นี้ บันทึกผลลง ตารางที่.1 ตารางที่.1 ICQ (mA) VCEQ(v) IBQ(A) VBEQ (v)  วงจรปกติ เปลี่ยน BJT 1.6 จากภาพวงจรปกติคํานวณหาคำกระแสและแรงดันที่จุดทํางานปกติ IB , IC ,VCE และ  เพื่อเปรียบเทยี บกับผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… วงจรไบอัสตนเอง (Self bias) 2.2 ใช้โวลทมิเตอร์วัดที่ ขา C กับขา E ( VCEQ) แลวบนั ทกผลลงตารางที่ึ .2 2.3 ใช้แอมปมิเตอร์วัดกระแสท่ีขาเบส (IBQ) และวัดกระแสที่ขาคอลเลกเตอร์ IC ตามภาพ ที่ 4 ตามลําดับ แลวบนั ทกผลลงตารางที่ึ .2 ภาพที่ 4 การวดั คำกระแสเบส และกระแส คอลเลกเตอร์ 2.4 คํานวณหาอัตราขยายกระแสทางดีซี ( ) ที่ ICQ นี้ บันทึกผลลงตารางที่.2 2.5 ทดลองหาเสถียรภาพอันเนื่องมาจาก การเปลี่ยนตัวทรานซิสเตอร์ 2.5.1 ทําการเปลี่ยนตัวทรานซิสเตอร์ แลวใช้โวลทมิเตอร์วัดแรงดนั VCEQ ตามภาพที่ 3 แลวบันทึกผลลงตารางที่.2 2.5.2 ใช้แอมปมิเตอร์วัดกระแสที่ขาเบส (IBQ) และวดั กระแสที่ขาคอลเลก- เตอร์ ICQ ตามภาพที่ 4 แลวบันทึกผลลงตารางที่.2 2.5.3 คํานวณหาอัตราขยายกระแสทางดีซี ( ) บันทึกผลลงตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ICQ (mA) VCEQ(v) IBQ(A) VBEQ (v)  วงจรปกติ เปลี่ยน BJT 2.6 จากภาพวงจรปกติคํานวณหาคำกระแสและแรงดันที่จุดทํางานปกติ IB , IC ,VCE และ  เพื่อเปรียบเทยี บกับผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… แบบประเมินผลการปฏบิัตกิ ารทดลอง ชื่อ – สกุล ………………………………………………ชั้น/กลุม………………เลขที่……… ลําดับที่ เกณฑการประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ 3 2 1 0 1 ปฏิบัติวัดหากระแส IB , IC ได้ถูกตอง 2 ปฏิบัติวัดหาแรงดัน VBE , VCE ได้ถูกตอง 3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นการทดลองได้ถูกตอง 4 ปฏิบัติการทดลองและบันทึกผลการ ทดลองได้ถูกตอง 5 ปฎิบัติการสรุปผลการทดลอง ได้ถูกตอง 6 สงงานตามกําหนดเวลา 7 ปฏิบัติการทําความสะอาด/เก็บวัสดุ/ อุปกรณ ได้ถูกตอง 8 การตรงตอเวลา 9 การแต่งกาย 10 กรทํางานรวมกับผูอื่น รวมคะแนน สรุปผลการประเมิน ผาน ไมผาน คะแนนที่ได้ ………………………… ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ………………………….ผูประเมิน (นายชาตรี เรงิ ชยภูมิั ) เกณฑการประเมินผลการปฏบิัติการทดลอง ลําดับ ที่ ระดับคะแนน 3 2 1 0 1 วัดถูกตองทั้ง 2 ตาราง วัดถูกตองตารางเดียว ถูกตองบางคำ วัดไมถูก 2 วัดถูกตองทั้ง 2 ตาราง วัดถูกตองตารางเดียว ถูกตองบางคำ วัดไมถูก 3 ปฏิบัติถูกทุกขั้นตอน ปฏิบัติถูกบางขั้นตอน - - 4 บันทึกผลการทดลอง ถูกตองทกุ ข้ันตอน บันทึกผลการทดลอง ถูกตองบางขั้นตอน - บันทึกผลการ ทดลองไมถูกตอง 5 สรุปผลการ ถูกตองตาม วัตถุประสงค สรุปผล บางวัตถุประ สงค - ไมสรุปผลการ ทดลอง 6 สงงานตามกําหนดเวลา สงงานลาชา 1วัน สงงานลาชาเกิน 3 วัน ไมสงงาน 7 เก็บวัสดุ/อุปกรณ เรียบรอย เก็บวัสดุ/อุปกรณไม เรียบรอย มีการตักเตือน ไมเก็บวัสดุ/อุปกรณ 8 ตรงตอเวลา มาสาย - ขาดเรียน 9 ถูกระเบียบ ผิดระเบียบบาง - ผิดระเบียบมาก 10 ชวยเพื่อนทํา ชวยเพื่อนทําบาง - ไมชวยเพื่อนทํา คะแนนรวม เกณฑการประเมิน 26 – 30 คะแนน หมายถึง ดมี าก 21 – 25 คะแนน หมายถึง ดี 16 – 20 คะแนน หมายถึง พอใช้ 0 – 15 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ใบงานที่ 2.2 หนวยที่ 2 เรื่อง วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์คอมมอนคอลเลกเตอร์ เวลา 60 นาที วัตถุประสงค 1. เขาใจการทาํ งานของวงจรคอมมอนคอลเลกเตอร์ได้ 2. วัดหาคำกระแสและแรงดนั ในวงจรได  3. มีกิจนิสัยในการทํางานดว ยความประณตรอบคอบและตรงตอเวลาี 4.มีความซื่อสัตย มีความใผรู และมีความอดทน 5. มีความขยัน รับผิดชอบงานที่มอบหมาย และทํางานรว มกบผูอื่นได้ั สาระสําคัญ วงจรไบอัสคอมมอนคอลเลกเตอร์ จะคลายๆ กับวงจรไบอัสของคอมมอนอิมิตเตอร์เพราะ ใช้กระแส IB ควบคุมการทํางานของทรานซิสเตอร์ สวนทางดานเอาทพตุ จะใชกระแส IE และความ ตานทาน RE เปนตัวกาํ หนดแรงดันทางดานเอาทพุต VCE = VCC - IC RE IE  IC = IB VO = IC RE เครื่องมือและอุปกรณที่ใชใ นการทดลอง 1. ออสซิลโลสโคป 2 เสนภาพ 1 เครื่อง 2. ชุดทดลอง BASE UNIT 1 เครื่อง 3. แผงโมดุลการทดลอง 1 แผน 4. สายตอวงจรไฟฟา 1 ชุด 5. มัลติมิเตอร์ 1 เครื่อง ภาพที่ 1 การวดั คำแรงดัน VCEQ และแรงดนั VO 2. ใช้โวลทมิเตอร์วัดที่ ขา C กับขา E ( VCEQ) แลวบันทึกผล VCEQ = …………………..V 3. ใช้โวลทมิเตอร์วัดที่ Vo ตามภาพที่ 1 แลวบันทึกผล VO = …………………..V 4. ใช้แอมปมิเตอร์วัดกระแสที่ขาเบส (IBQ) และวดั กระแสที่ขาคอลเลกเตอร์ IEQ ตามภาพที่ 2 ตามลําดับ แลวบันทกึ ผล IBQ = …………………..A IEQ = …………………..A 5. จากภาพวงจรปกติคํานวณหาคำกระแสและแรงดันที่จุดทํางานปกติ IB , IE ,VCE และ แรงดัน VO เพื่อเปรียบเทียบกบั ผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… แบบประเมินผลการปฏบิัตกิ ารทดลอง ชื่อ – สกุล ………………………………………………ชั้น/กลุม………………เลขที่……… ลําดับที่ เกณฑการประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ 3 2 1 0 1 ปฏิบัติวัดหากระแส IB , IE ได้ถูกตอง 2 ปฏิบัติวัดหาแรงดัน VBE , VCE ได้ถูกตอง 3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นการทดลองได้ถูกตอง 4 ปฏิบัติการทดลองและบันทึกผลการ ทดลองได้ถูกตอง 5 ปฎิบัติการสรุปผลการทดลอง ได้ถูกตอง 6 สงงานตามกําหนดเวลา 7 ปฏิบัติการทําความสะอาด/เก็บวัสดุ/ อุปกรณ ได้ถูกตอง 8 การตรงตอเวลา 9 การแต่งกาย 10 กรทํางานรวมกับผูอื่น รวมคะแนน สรุปผลการประเมิน ผาน ไมผาน คะแนนที่ได้ ………………………… ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ………………………….ผูประเมิน (นายชาตรี เรงิ ชยภูมิั ) เกณฑการประเมินผลการปฏบิัติการทดลอง ลําดับ ที่ ระดับคะแนน 3 2 1 0 1 วัดกระแสถูกตองทั้ง 2 คำ วัดถูกตองคำเดียว - วัดไมถูก 2 วัดแรงดันถูกตองทั้ง 2 คำ วัดถูกตองคำเดียว - วัดไมถูก 3 ปฏิบัติถูกทุกขั้นตอน ปฏิบัติถูกบางขั้นตอน - - 4 บันทึกผลการทดลอง ถูกตองทกุ ข้ันตอน บันทึกผลการทดลอง ถูกตองบางขั้นตอน - บันทึกผลการ ทดลองไมถูกตอง 5 สรุปผลการ ถูกตองตาม วัตถุประสงค สรุปผล บางวัตถุประ สงค - ไมสรุปผลการ ทดลอง 6 สงงานตามกําหนดเวลา สงงานลาชา 1วัน สงงานลาชาเกิน 3 วัน ไมสงงาน 7 เก็บวัสดุ/อุปกรณ เรียบรอย เก็บวัสดุ/อุปกรณไม เรียบรอย มีการตักเตือน ไมเก็บวัสดุ/อุปกรณ 8 ตรงตอเวลา มาสาย - ขาดเรียน 9 ถูกระเบียบ ผิดระเบียบบาง - ผิดระเบียบมาก 10 ชวยเพื่อนทํา ชวยเพื่อนทําบาง - ไมชวยเพื่อนทํา คะแนนรวม เกณฑการประเมิน 26 – 30 คะแนน หมายถึง ดมี าก 21 – 25 คะแนน หมายถึง ดี 16 – 20 คะแนน หมายถึง พอใช้ 0 – 15 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง แบบทดสอบกอ นเรียนหนวยที่ 2 คําสั่ง จงทาํ เคร่ืองหมายกากบาท () ลงบนขอคําตอบที่ถูกที่สุด จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 1 ถึงขอ 3 1. จากภาพเปน การจัดวงจรไบอัสแบบใด ก. คอมมอนอิมิตเตอร์ ข. คอมมอนเบส ค. คอมมอนคอลเลกเตอร์ 2. ขอใดคือสมการกระแส IB ที่ถูกตอง ง. คอมมอนเกท ก. IB = VCC VCE RB ข. IB = VCC RB ค. IB = VCC VBE RB 3. ขอใดคือสมการแรงดนั VCE ที่ถูกตอง . IB = i BE V  V RB ก. VCE = VCC ข. VCE = VCC + VRC ค. VCE = VCC - VRC ง. VCE = VCC + VBE จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 4 ถึงขอ 7 4. จากภาพเปนการจัดวงจรไบอัสแบบใด ก. คอมมอนอิมิตเตอร์ ข. คอมมอนคอลเลกเตอร์ ค.คอมมอนเบส 5. ขอใดคือสมการกระแส IB ที่ถูกตอง ง. คอมมอนเกท ก. IB = VCC VBE RB V V ข. IB = CC BE RB RE ค. IB = VCC  VCE RB (1β)RE 6. ขอใดคือสมการแรงดันที่ VCE ที่ถูกตอง ง. IB = CC BE V  V R B (1β)R E ก. VCE = VCC ข. VCE = VCC + VRE ค. VCE = VCC - VRE 7. ขอใดคือสมการของแรงดัน Vo ที่ถูกตอง ง. VCE = VCC + VBE ก. VO = VCC - VCE ข. VO = VCC - IE  RE ค. VO = IE  RE ง. ถูกทั้งขอ ก และขอ ค จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 8 ถึงขอ 9 8. จากภาพเปนการจัดวงจรไบอัสแบบใด ก. คอมมอนอิมิตเตอร์ ข. คอมมอนเบส ค. คอมมอนคอลเลกเตอร์ 9. ขอใดคือสมการกระแส IE ที่ถูกตอง ง. คอมมอนเกท ก. IE = EE BE V V RE V V ข. IE = CC BE RE ค. IE = CC CE V V RE . IE = CC BE V V RC RE 10. โดยทั่วไปคำแรงดันที่ VBE ที่นิยมใช้มีคำเทา ไหร  ก. 0.3 V ข. 1 V ค. 0.7 V ง. 1.4 V จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 11 ถึงขอ 13 11. ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IB ก. 32.35 A ข. 31.32 A ค. 3.132 A ง. 3.235 A 12. ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IC ก. 3.75 mA ข. 3.88 mA ค. 3.23 mA ง. 3.13 mA 13. ขอใดคือคําตอบของคำแรงดัน VCE ก. 22 V ข. 9.59 V ค. 9.196 V ง. 0 V จากภาพ จงตอบคําถามตั้งแต่ขอ 14 ถึงขอ 16 14. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำแรงดัน VB ก. 16.36 V ข. 5.6 V ค. 1.63 V ง. 0.7 V 15. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IC ก. 0.775 mA ข. 1.35 mA ค. 1.94 mA ง. 1.27 mA 16. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำแรงดัน VCE ก. 17 V ข. 14.35 V ค. 18 V ง. 13.34 V จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 17 ถึงขอ 18 17. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IE ก. 1 mA ข. 2.4 mA ค. 3.3 mA ง. 4 mA 18. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IC ก. 1 mA ข. 4 mA ค. 2.4 mA ง. 3.3 mA แบบทดสอบหลังเรียนหนวยที่ 2 คําสั่ง จงทาํ เครื่องหมายกากบาท () ลงบนขอคําตอบที่ถูกที่สุด 1. โดยทั่วไปคำแรงดันที่ VBE ที่นิยมใช้มีคำเทา ไหร  ก. 0.3 V ข. 1 V ค. 0.7 V ง. 1.4 V จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 2 ถึงขอ 3 2. ขอใดคือสมการกระแส IB ที่ถูกตอง ก. IB = VCC VBE RB ข. IB = VCC RB ค. IB = VCC VCE RB 3. ขอใดคือสมการแรงดนั VCE ที่ถูกตอง ง. IB = i BE V V R B ก. VCE = VCC ข. VCE = VCC + VRC ค. VCE = VCC - VRC ง. VCE = VCC + VBE จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 4 ถึงขอ 6 4. ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IB ก. 32.35 A ข. 31.32 A ค. 3.132 A ง. 3.235 A 5. ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IC ก. 3.75 mA ข. 3.88 mA ค. 3.23 mA ง. 3.13 mA 6. ขอใดคือคําตอบของคำแรงดัน VCE ก. 22 V ข. 9.59 V ค. 9.196 V ง. 0 V จากภาพ จงตอบคําถามตั้งแต่ขอ 7 ถึงขอ 9 7. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IB ก. 23.99 A ข.20.92 A ค. 22.18 A ง. 25.47 A 8. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IC ก. 1.67 mA ข.1.782 mA ค. 1.55 mA ง. 1.46 mA 9. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำแรงดัน VCE ก. 7.18 V ข. 12 V ค. 9.06 V ง. 0.7 V จากภาพ จงตอบคําถามตั้งแต่ขอ 10 ถึงขอ 12 10. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำแรงดัน VB ก. 16.36 V ข. 5.6 V ค. 1.63 V ง. 0.7 V 11. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IC ก. 0.775 mA ข. 1.35 mA ค. 1.94 mA ง. 1.27 mA 12. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำแรงดัน VCE ก. 17 V ข. 14.35 V ค. 18 V ง. 13.34 V จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 13 ถึงขอ 14 13. ขอใดคือสมการกระแส IB ที่ถูกตอง ก. IB = VCC VBE RB V V ข. IB = CC BE RB RE ค. IB = VCC  VCE RB (1β)RE 14. ขอใดคือสมการแรงดนั ที่ VCE ที่ถูกตอง ง. IB = CC BE V  V R B (1β)R E ก. VCE = VCC ข. VCE = VCC + VRE ค. VCE = VCC - VRE ง. VCE = VCC + VBE จากภาพขางลางใหตอบคําถามขอ 15 ถึงขอ 18 15. ขอใดคือสมการกระแส IE ที่ถูกตอง ก. IE = VCC VBE ข. IE = VEEVBE R R E E ค. IE = VCC VCE ง. IE = VCC VBE RE RC RE 16. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IE ก. 1 mA ข. 2.4 mA ค. 3.3 mA ง. 4 mA 17. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำกระแส IC ก. 1 mA ข. 4 mA ค. 2.4 mA ง. 3.3 mA 18. จากภาพ ขอใดคือคําตอบของคำแรงดัน VCE ก. 1.38 V ข. 6 V ค. 2.78 V ง. 0.7 V

Framework

Library


เครื่องมือพัฒนาเว็บ



การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์


Download SourceCode



copyAllright © 2016 soundmk.com