How to Linux Ubuntu 16.04 Manuals
การติดตั้ง Line บน Ubuntu
1. ติดตั้ง Chrome บน Linux
2. ติดตั้ง Line Extension บน Chrome อีกที เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
การติดตั้ง Filezilla FTP Client
1. sudo apt-get install filezilla
2. การเรียกใช้: sudo filezilla
การติดตั้ง SublimeText
1. sudo apt-get install apt-transport-https ca-certificates curl software-properties-common
2. curl -fsSL https://download.sublimetext.com/sublimehq-pub.gqg | sudo aptkey add -
3. sudo add-apt-repository "deb https://download.sublimetext.com/apt/stable/"
4. sudo apt-get update
5. sudo apt-get install sublime-text
6. การเรียกใช้: เรียกใช้ผ่าน Search
การติดตั้ง Wine 1.8 Stable via New PPA in Ubunt
How to Install Wine 1.8 Stable via New PPA in Ubuntu
1. Add the PPA via command:
sudo add-apt-repository ppa:ubuntu-wine/ppa
2. Update package cache and install wine1.8:
sudo apt-get update
sudo apt-get install wine1.8 winetricks
Install latest Wine Dev release from the Official WineHQ PPA:
1. For 64-bit system, rum command to enable 32 bit architecture:
sudo dpkg --add-architecture i386
2. Add the wine PPA:
sudo add-apt-repository ppa:wine/wine-builds
3. Once you have the PPA added in your system, run below commands one by one to refresh package caches and install Wine 1.8:
sudo apt-get update
sudo apt-get install --install-recommends winehq-devel
4. Finally you may run below command to initialize your wine configuration.
winecfg
ติดตั้ง PlayOnLinux Ubuntu
For the Cosmic version
cradit: https://www.playonlinux.com/en/download.html
Type the following commands:
wget -q "http://deb.playonlinux.com/public.gpg" -O- | sudo apt-key add -
sudo wget http://deb.playonlinux.com/playonlinux_cosmic.list -O /etc/apt/sources.list.d/playonlinux.list
sudo apt-get update
sudo apt-get install playonlinux
การติดตั้ง Teamviewer
1. ดาวน์โหลดโดยใช้คำสั่ง: wget https://download.teamviewer.com/download/linux/teamviewer-amd64.deb
2. sudo apt-get install teamview-amd64.deb
3. การเรียกใช้: sudo teamviewer
การติดตั้ง Xampp
1. download xampp ได้ที่ https://www.apachefriends.org/download.html
2. sudo chmod +x ชื่อไฟล์.run
3. ติดตั้งด้วย Superuser Mode ดังนี้
sudo su
ชื่อไฟล์.run
4. Setup ผ่าน GUI Form จนเสร็จ
5. การเรียกใช้: sudo /opt/lampp/lampp start
* แก้ปัญหา กรณี Apache หรือ Mysql Stop running.
1. sudo /etc/init.d/apache2 stop
2. sudo /etc/init.d/mysql stop
3. sudo /opt/lampp/lampp restart เป็นอันเรียบร้อย
สร้างไฟล์ใหม่ด้วย cat
sudo cat > index.php กด Ctrl+z เพื่อ save ไฟล์
ค้นหาไฟล์ด้วย fine
fine -name "ชื่อขึ้นต้น*"
การติดตั้ง Playonlinux ไว้รัน exe
1. sudo apt-get install playonlinux
การติดตั้ง RAR
1. sudo apt-get install rar
2. การใช้งาน: rar a ArchiveName file1 file2 Dir1 Dir2
การติดตั้ง unRAR
1. sudo apt-get install unrar
2. การใช้งาน: แตกไฟล์โดยใช้คำสั่ง unrar x Filename.rar
การติดตั้ง Nmap
1. sudo apt-get install namp
2. การใช้งาน: nmap -sP 192.168.1.* หรือ nmap -sn 192.168.1.0/24
การติดตั้งไฟล์ .deb
1. sudo dpkg -i Filename.deb
การติดตั้ง WPS Office
1. ดาวน์โหลดไฟล์ที่ wps-community.org/download
2. เลือกไฟล์ .deb
3. ติดตั้งโดย sudo dpkg -i Filename.deb
4. การเรียกใช้: WPS ผ่าน Search
ติดตั้ง Nikto
1. sudo apt-get install nikto
2. การอับเดต: sudo nikto -update
2. การใช้งาน: sudo nikto -host http://domain.com
ติดตั้ง Git
1. sudo apt-get install git
ติดตั้ง Metasploit
1. wget https://downloads.metasploit.com/data/releases/metasploit-latest-linux-x64-installer.run && wget https://downloads.metasploit.com/data/releases/metasploit-latest-linux-x64-installer.run.sha1 && echo $(cat metasploit-latest-linux-x64-installer.run.sha1)' 'metasploit-latest-linux-x64-installer.run > metasploit-latest-linux-x64-installer.run.sha1 && shasum -c metasploit-latest-linux-x64-installer.run.sha1 && chmod +x ./metasploit-latest-linux-x64-installer.run && sudo ./metasploit-latest-linux-x64-installer.run
การติดตั้ง PHP บน Ubuntu
วิธีติดตั้ง PHP (5.6, 7.0 และ 7.1) เวอร์ชันต่างๆใน Ubuntu
$ sudo apt show php หรือ $ sudo apt show php -a
หากต้องการติดตั้งเวอร์ชัน PHP เริ่มต้นจากที่เก็บซอฟต์แวร์ของอูบุนตูให้ใช้คำสั่งด้านล่าง
$ sudo apt install php
ติดตั้ง PHP (5.6, 7.0, 7.1) บน Ubuntu โดยใช้ PPA
1.เริ่มต้นด้วยการเพิ่ม PPAเพื่อติดตั้ง PHP- PHP 5.6 , PHP 7.0และPHP 7.1ในระบบ Ubuntu
$ sudo apt install python-software-properties
$ sudo add-apt-repository ppa:ondrej/php
2.จากนั้นปรับปรุงระบบดังต่อไปนี้
$ sudo apt-get update
3.ติดตั้ง PHP เวอร์ชั่นที่รองรับต่างกันดังนี้
สำหรับ Apache Web Server
$ sudo apt install php5.6 [ PHP 5.6 ]
$ sudo apt install php7.0 [ PHP 7.0 ]
$ sudo apt install php7.1 [ PHP 7.1 ]
สำหรับ Nginx Web Server
$ sudo apt install php5.6-fpm [ PHP 5.6 ]
$ sudo apt install php7.0-fpm [ PHP 7.0 ]
$ sudo apt install php7.1-fpm [ PHP 7.1 ]
4.ในการติดตั้งโมดูล PHP เพียงแค่ระบุเวอร์ชัน PHP และใช้ฟังก์ชันการทำงานอัตโนมัติเสร็จสิ้นเพื่อดูโมดูลทั้งหมดดังต่อไปนี้
$ sudo apt install php5.6
$ sudo apt install php7.0
$ sudo apt install php7.1
5.ตอนนี้คุณสามารถติดตั้งโมดูล PHP ที่ต้องการได้มากที่สุดจากรายการ
$ sudo apt install php5.6-cli php5.6-xml php5.6-mysql
$ sudo apt install php7.0-cli php7.0-xml php7.0-mysql
$ sudo apt install php7.1-cli php7.1-xml php7.1-mysql
6.สุดท้ายตรวจสอบเวอร์ชัน PHP เริ่มต้นที่ใช้ในระบบของคุณเช่นนี้
$ php -v
7.คุณสามารถตั้งค่า PHP เริ่มต้นใน Ubuntu เวอร์ชันมาตรฐานที่จะใช้ในระบบด้วยคำสั่งupdate-alternativesหลังจากตั้งค่าแล้วให้ตรวจสอบเวอร์ชัน PHP เพื่อยืนยันดังต่อไปนี้
$ sudo update-alternatives --set php /usr/bin/php5.6
$ sudo update-alternatives --set php /usr/bin/php7.0
$ sudo update-alternatives --set php /usr/bin/php7.1
8.ในการตั้งค่าเวอร์ชัน PHP ที่จะทำงานร่วมกับเว็บเซิร์ฟเวอร์Apacheให้ใช้คำสั่งด้านล่าง แรกปิดการใช้งานรุ่นปัจจุบันด้วยคำสั่งa2dismodแล้วเปิดใช้งานที่คุณต้องการด้วยคำสั่งa2enmod
$ sudo a2dismod php7.0
$ sudo a2enmod php7.1
$ sudo systemctl restart apache2
9.หลังจากเปลี่ยนจากเวอร์ชันหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งแล้วคุณสามารถหาไฟล์การกำหนดค่า PHP ของคุณได้โดยการรันคำสั่งด้านล่าง
------------ For PHP 5.6 ------------
$ sudo update-alternatives --set php /usr/bin/php5.6
$ php -i | grep "Loaded Configuration File"
------------ For PHP 7.0 ------------
$ sudo update-alternatives --set php /usr/bin/php7.0
$ php -i | grep "Loaded Configuration File"
------------ For PHP 7,1 ------------
$ sudo update-alternatives --set php /usr/bin/php7.1
$ php -i | grep "Loaded Configuration File"
cradit: https://computertipinmyroom.blogspot.com/2018/07/php-56-70-71-ubuntu.html
การติดตั้ง Composer
composer เป็นเครื่องมือใช้ในการบริหารจัดการ ช่วยให้การติดตั้ง PHP Library ที่ต้องการได้ง่ายขึ้น เพราะ composer จะช่วยค้นหาและติดตั้ง Library อื่นๆ รวมทั้งเวอร์ชั่นที่จำเป็นโดยอัตโนมัติ ก่อนที่จะติดตั้่ง Library ที่ต้องการ
เวอร์ชั่นของ PHP ที่จะใช้ composer ได้คือ 5.3.2+
การติดตั้ง COMPOSER
วิธีการติดตั้งตามคำแนะนำของเว็บไซต์ getcomposer.org
$ curl -sS https://getcomposer.org/installer | php
ไฟล์ที่ได้จากการติดตั้งจะมีแค่ไฟล์เดียวคือ composer.phar ซึ่งเป็นไฟล์ในรูปแบบ phar (PHP Archive)
สามารถรัน composer ได้จากการใช้คำสั่ง php ตามด้วยชื่อไฟล์ composer.phar
$ php composer.phar
เพื่อความสะดวกและให้ผู้ใช้ (user) ทุกคนบนเซิร์ฟเวอร์สามารถรันได้ด้วย วิธีการที่แนะนำคือใช้ root เพื่อ copy ไฟล์ composer.phar ไปไว้ในไดเร็กทอรีหรือ path ที่สามารถรันและมองเห็นได้ทุกคน เช่น /usr/local/bin
ล็อกอินด้วย root แล้ว copy ไฟล์ composer.phar ไปเป็นไฟล์ /usr/local/bin/composer
$ cp composer.phar /usr/local/bin/composer
$ ls -l /usr/local/bin/
ตัวอย่างการรัน composer หลังจาก copy ไฟล์และเปลี่ยนชื่อไฟล์ไปไว้ใน /usr/local/bin/
composer -V
ทดลองใช้ COMPOSER ติดตั้ง MONOLOG
วิธีการใช้ composer มีหลายรูปแบบ วิธีหนึ่งคือสร้างไฟล์ composer.json แล้วใช้คำสั่ง composer install
สร้างไฟล์ composer.json
[alice@cent6-php ~]$ vi composer.json
{
"require": {
"monolog/monolog": "1.2.*"
}
}
รันคำสั่ง composer install
$ composer install
ดูไฟล์ผลลัพธ์ที่ได้จากการติดตั้่ง
$ ls -l
$ la -l vendor/
cradit: https://spalinux.com/2015/01/install-composer-to-manage-php-library
การติดตั้ง Laravel 5.6 แบบสมบูรณ์
การติดตั้ง Laravel 5.6 แบบสมบูรณ์
เซิร์ฟเวอร์ต้องมีอะไรบ้าง?
Laravel เป็นเฟรมเวิร์คที่ไม่ต้องการทรัพยากรสูงมาก ยิ่งถ้าติดตั้งกับ Laravel Homestead เซิร์ฟเวอร์จำลองที่สร้างมาเพื่อ Laravel ก็แทบไม่ต้องการอะไรเพิ่มเลย ทาง Laravel เองก็ค่อนข้างเชียร์ให้เราใช้ Homestead เป็นเซิร์ฟเวอร์จำลองสำหรับพัฒนาในเครื่องของเรา
แต่ถ้าเราไม่ได้ใช้ Homestead ล่ะ? คำตอบคือ เราก็ต้องเตรียมเซิร์ฟเวอร์ของเราให้มีทรัพยากรพื้นฐานเลยตามนี้
- PHP เวอร์ชั่นตั้งแต่ 7.1.3 ขึ้นไป
- OpenSSL PHP Extension
- PDO PHP Extension
- Mbstring PHP Extension
- Tokenizer PHP Extension
- XML PHP Extension
- Ctype PHP Extension
- JSON PHP Extension
(ซึ่งส่วนใหญ่ก็มีมาให้กับเซิร์ฟทั่วไปอยู่แล้ว)
เริ่มติดตั้ง
Laravel ใช้ Composer เป็นตัวจัดการเรื่อง Dependencies ดังนั้นก่อนใช้งาน Laravel ก็ควรต้องติดตั้ง Composer ลงในเรื่องของเราก่อนด้วย
ติดตั้งด้วย Laravel Installer
เริ่มจากดาว์นโหลด Laravel Installer ด้วย Composer
$ composer global require "laravel/installer"
เมื่อติดตั้งเรียบร้อยแล้ว เราก็สามารถใช้คำสั่ง laravel new ตามด้วยชื่อโปรเจค เพื่อสร้างโปรเจคใหม่ได้เลยแบบนี้
$ laravel new [ชื่อโปรเจคใหม่]
หรือติดตั้งด้วยคำสั่ง Composer Create-Project
เป็นอีกวิธีนึงหากวิธีแรกใช้ไม่ได้ คือติดตั้งด้วยคำสั่ง create-project บน Terminal
$ composer create-project --prefer-dist laravel/laravel [ชื่อโปรเจคใหม่]
รันเซิร์ฟเวอร์ของเรากัน
เมื่อเราติดตั้ง Laravel ได้แล้วต่อไปเราก็มาลองรันเซิร์ฟเวอร์ ด้วยคำสั่ง PHP ในการสร้างเซิร์ฟเวอร์สำหรับพัฒนาให้กับเว็บของเราได้เลย
$ php artisan serve
เว็บจะรันที่ http://localhost:8000 ตามค่าเริ่มต้น ถ้าอยากใช้ port อื่นก็พ่วง option ไปแบบนี้
$ php artisan serve --port=1234
สิ่งที่ต้องตั้งค่าก่อนเริ่มเขียนเว็บ
Public Directory ตั้งค่าเว็บเซิร์ฟเวอร์ web root ให้เปิดจาก ไดเรคทอรี่ public ของเว็บเรา ไฟล์ public/index.php เป็นไฟล์ที่ใช้รันเว็บของเรา
ตั้งค่าในไฟล์ค่าตั้งค่า ในไดเรคทอรี่ที่ชื่อว่า config จะมีไฟล์สำหรับตั้งค่าหลายไฟล์ เราสามารถตั้งค่า เช่น Database, Email หรืออื่น ๆ ได้เลยที่นี่
สิทธิ์การเข้าถึงไดเรคทอรี่ มีบางไดเรคทอรี่ที่ต้องการสิทธิ์ในการเขียนข้อมูล เช่น storage และ bootstrap/cache ให้ตั้งค่า permission ให้สามารถเขียนข้อมูลได้
Application Key เรื่องคีย์นี้สำหรับมากว่าเราไม่ได้เซ็ตไว้ จะทำให้การเข้ารหัสข้อมูลของเราไม่ปลอดภัย ส่วนวิธีกำหนดคีย์ก็ไม่ยาก แค่เราเปลี่ยนชื่อไฟล์ .env.example เป็น .env แล้วรันคำสั่ง geneate ใน Terminal
$ php artisan key:generate
ตั้งค่าอื่น ๆ เพิ่มเติม หากต้องการความสมบูรณ์ของเว็บเพิ่มขึ้นก็ให้เขาไปตั้งค่าอื่น ๆ เช่น timezone และ locale ในไดเรคทอรี่ config/app.php
ตั้งค่าเว็บเซิร์ฟเวอร์
ตั้ง URL ให้สวยงาม
สำหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้ Apache
ในโฟลเดอร์ public จะมีไฟล์ที่ชื่อว่า .htaccess ไว้สำหรับจัดการ URL ของเราไม่ให้เป็น index.php ใน URL ไฟล์นี้จะทำงานได้ ถ้าเครื่องเรามีการติดตั้งโมดูล mod_rewrite ไว้เรียบร้อยแล้ว
แต่ถ้า .htaccess ไม่ทำงาน ให้ลองให้คำสั่งด้านล่างนี้
Options +FollowSymLinks
RewriteEngine On
RewriteCond %{REQUEST_FILENAME} !-d
RewriteCond %{REQUEST_FILENAME} !-f
RewriteRule ^ index.php [L]
สำหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้ Nginx
ถ้าเราใช้ Nginx ง่าย ๆ แค่เพิ่มการตั้งค่าของ Site ด้วยคำสั่งด้านล่างนี้
location / {
try_files $uri $uri/ /index.php?$query_string;
}
แก้ปัญหา กรณีติดตั้ง Laravel แล้วติด Problem
แก้ Problem 1
To enable extensions, verify that they are enabled in those .ini files:
sudo apt-get install php7.1-gd
sudo apt-get install php7.1-intl
sudo apt-get install php7.1-xsl
sudo apt-get install php7.1-xml
sudo apt-get install php7.1-mbstring
sudo apt-get install php7.1-curl
แก้ Storage not have Permission
sudo chmod -R 777 storage