sondmk header
ELECTRONICS
การคำนวนหาค่า F สำหรับความถี่ต่างๆ ด้วย RC

Post by Goborijung at 2020-06-05 00:44:04 | ID: 597

Link สำหรับ คำนวนค่า LPF
https://www.digikey.co.th/th/resources/conversion-calculators/conversion-calculator-low-pass-and-high-pass-filter


<?php

// Formular Frequency :: F = 1/(2 x 3.14 x R x C) OR f = 1/2πRC
// กำหนดให้ R มีค่าเท่ากับ 1000Ω หรือ 1KΩ
// กำหนดให้ C มีค่าเท่ากับ 0.0033uF

// INPUT
$r = 1000; 		// 1000Ω
$c = 0.0033; 	// Code : 332
$f = 0;

// PROCESS
$f = 1/(2 * pi() * $r * $c);
$f *= 1000000; // Set Output to Hz (เนื่องจาก 1 ฟารัด มีค่าเท่ากับ ล้าน ไมโครฟารัด จึงต้องเอาไปคูณ 1 ล้าน เพื่อให้ได้หน่วยเป็น uF)

// OUTPUT
echo 'f = '.number_format($f,3).'Hz'; // f = 48,228.771Hz


การคำนวนหาค่า R สำหรับความถี่ต่างๆ ด้วย fC

Post by Goborijung at 2020-06-05 00:45:29 | ID: 595

<?php

// Formular Frequency :: R = 1/(2 x 3.14 x f x C) OR 1/2πfC
// กำหนดความถี่ที่ต้องการคือ 100Hz
// กำหนดให้ C มีค่าเท่ากับ 0.033uF

// INPUT
$f = 100; 	// 100Hz
$c = 0.033; // Code : 333
$r = 0;

// PROCESS
$r = 1/(2 * pi() * $f * $c);
$r *= 1000; // Set Output tO KΩ

// OUTPUT
echo 'R = '.number_format($r,3).'KΩ';

การต่อหลอด Led กับไฟ 220V

Post by Goborijung at 2023-10-21 22:44:48 | ID: 1983


การทำงานของ Battery

Post by Goborijung at 2021-03-24 11:00:41 | ID: 1055

ก่อนพูดกันถึงหลักการทำงานในกระบวนการทางเคมีของแบตเตอรี่ เรามารู้ก่อนว่าสูตรทางเคมีของส่วนต่างๆ เป็นอย่างไรบ้าง ดังนี้

แผ่นธาตุบวก (+) มีสูตรทางเคมีเป็น PbO2
แผ่นธาตุลบ (-) มีสูตรทางเคมีเป็น Pb
น้ำกรดกำมะถันที่ใช้กันในแบตเตอรี่ มีสูตรทางเคมีเป็น H2SO4
เมื่อแบตเตอรี่ต่อกับวงจรภายนอกจะเกิดการจ่ายกระแสไฟที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาเคมีระหว่าง กรดกำมะถัน(H2SO4), แผ่นธาตุบวก(PbO2) และแผ่นธาตุลบ(Pb) โดยขณะที่จ่ายกระแสไฟออก ออกซิเจนในแผ่นธาตุ+ (PbO2) จะรวมตัวกับไฮโตรเจนในกรดกำมะถัน (H2SO4) เกิดเป็นน้ำ (H2O) ในขณะเดียวกับ Pb ใน PbO2 รวมตัวกับอนุมูลซัลเฟต(SO4) ใน H2SO4 เกิดเป็นสารประกอบชนิดใหม่คือ ตะกั่วซัลเฟต (PbSO4) ในขณะเดียวกันตะกั่วพรุน (Pb) ในแผ่นธาตุ- ก็จะรวมตัวกับอนุมูลซัลเฟต(SO4) ใน H2SO4 และเกิดตะกั่วซัลเฟต (PbSO4) เช่นเดียวกัน

ที่กล่าวมาข้างต้นพอสรุปได้ว่า ขณะที่แบตเตอรี่จ่ายไฟออกจะเกิดตะกั่วซัลเฟต (PbSO4) ขึ้นทั้งแผ่นธาตุบวกและแผ่นธาตุลบ โดยกรดกำมะถัน (H2SO4) จะถูกใช้ไปเกิดเป็นน้ำ (H2O) ขึ้นมา ถ้าจ่ายกระแสไฟต่อไปเรื่อยๆ กรด H2SO4 ก็จะเจือจางลงไปเรื่อยๆ และเมื่อเกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องไปเรื่อยๆ แผ่นธาตุก็จะถูกเปลี่ยนเป็น PbSO4 (ตะกั่วซัลเฟต) แบตเตอรี่ก็จะไม่สามารถจ่ายไฟได้ต่อไป ต้องนำไปอัดชาร์จไฟใหม่ การอัดชาร์จไฟจะเป็นปฏิกิริยาย้อนกลับกับการจ่ายไฟออก โดยตะกั่วซัลเฟต (PbSO4) ที่เกิดมาตอนปฏิกิริยาจ่ายไฟออก จะถูกแตกตัวเป็นอนุมูลของ Pb และ SO4(ซัลเฟต) ในขณะเดียวกันน้ำ(H2O) ก็จะถูกแยกตัวออกเป็นไฮโดรเจน(H2) และออกซิเจน(O2) อนุมูลซัลเฟต(SO4) จะรวมตัวกับไฮโดรเจน(H2) กลายเป็นกรดกำมะถัน(H2SO4) ในขณะเดียวกันออกซิเจน(O2) จะรวมตัวกับตะกั่ว(Pb) กลายเป็น PbO2 ที่แผ่นธาตุบวก(+)

นี่เป็นลักษณะการทำงานสำคัญของแบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรด ซึ่งคงพอทำให้เข้าใจได้มากขึ้นว่าคำที่ว่าแบตไฟหมดมีลักษณะยังไงเกิดจากอะไร ทำไมต้องอัดไฟ เมื่อเรารู้หลักการของมันเราก็จะเข้าใจมันได้ดียิ่งขึ้น ช่วยลดความสงสัยลงได้

การวัดดี เสีย Diode Bridge

Post by Goborijung at 2023-10-21 22:47:18 | ID: 1984


การหาค่า ILed = (VCC-Vf)/R สำหรับกระแสที่ไหลผ่านตัว LED

Post by Goborijung at 2020-05-24 08:50:04 | ID: 580

การหาค่า ILed = (VCC-Vf)/R สำหรับกระแสที่ไหลผ่านตัว LED

ตัวอย่าง
กำหนดให้ VCC = 3V , หลอด LED กินไฟที่ 1.7V , ตัวต้านทาน 120 โอมห์ จะได้กระแสไหลผ่านตัว LED เท่าไหร่ จะได้

I = 3-1.7/120
I = 1.3/120
I = 0.01A หรือ  (0.01x1000) = 10mA

/* การหาค่า W ของ R (อัตราทนกำลังวัตต์) */
สูตร 
RW = I^2xR หรือ VxI หรือ V^2/R
จะได้

RW = (0.01x0.01) x 120
RW = 0.012W -------(1) Recommend

RW = 1.7x0.01
RW = 0.017W -------(2)

RW = (1.7x1.7)/120
RW = 0.024W -------(3)

การหาค่า RLed = (VCC-Vf)/I สำหรับดรอปไฟ LED (R Drop)

Post by Goborijung at 2020-09-13 11:15:38 | ID: 177

สูตร : R = (Vcc-Vf)/I
Vcc = แหล่งจ่ายไฟตรง (DC)
Vf = แรงดันที่หลอดไฟต้องการ
I = กระแสที่หลอดไฟต้องการ

กำหนด Spec LED mini : 
ใช้แรงดันไฟ : 1.8-2V 
กระแส : 20mA
แหล่งจ่าย : 12V

แทนค่าจากสูตร : (Vcc-Vf)/I จะได้ ----------------------------- (R)
- หาค่าความต้านทาน
R(Ω) = (Vcc-Vf)/I
R(Ω) = (12-2)/0.02
R(Ω) = 10/0.02
R(Ω) = 500Ω

- หากำลังวัตต์ของตัวต้านทาน จากสูตร R(w) : (I^2)*R จะได้ ------------------------------(RW)
R(w) = (I^2)*R
R(w) = (0.02*0.02)*500
R(w) = 0.0004*500
R(w) = 0.2W

คำนวนหาค่า R แบบขนาน (Parallel) , หาค่า R ขนาน

Post by Goborijung at 2019-11-21 08:34:07 | ID: 180

/* สูตร R ขนาน */

R = 1/( (1/R1) + (1/R2) + (1/Rn) ) <?php $r = array(20,30,30); $sum = 0; foreach($r as $val) { $sum+=(1/$val); } echo number_format(1/$sum,2); ?>

มาตรฐาน IEC คืออะไร

Post by Goborijung at 2020-05-24 10:45:59 | ID: 581

คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศ ว่าด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอเทคนิกส์ (International Electrotechnical Commission - IEC)
เป็นองค์กรอิสระที่เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2449 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำมาตรฐานระหว่างประเทศ ทางด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง 

นอกจากนั้นยังดำเนินการจัดทำระบบการตรวจประเมิน เพื่อการรับรองคุณภาพให้กับมาตรฐานของ IEC เพื่อเป็นเครื่องมือในการอำนวยความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศ 
การเป็นสมาชิก IEC จะต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมการแห่งชาติของประเทศ แต่ละประเทศจะมีคณะกรรมการแห่งชาติได้เพียงคณะเดียว

เครืองเสียงที่ได้มาตรฐาน จะต้องผ่านการพิจารณาจากสมาคม IEC เสียก่อน

วงจรขยายเสียง IC : TDA2822

Post by Goborijung at 2020-05-24 21:07:25 | ID: 582

https://www.eanic.com/try-tda2822-small-stereo-amplifier-circuit/

<<<12345>>>

Framework

Library


เครื่องมือพัฒนาเว็บ



การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์


Download SourceCode



copyAllright © 2016 soundmk.com